วันศุกร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2560

โรงเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช



                ขอบคุณรูปภาพจาก  https://web.ku.ac.th/king72/2542-02/king_1.jpg
             การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเป็นวิทยาการสมัยใหม่เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการเก็บรักษาพันธุ์พืชเอกลักษณ์ที่หยาก มิให้สูญพันธุ์และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ในอนาคต การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเป็นการนำเอาเซลล์หรือเนื้อเยื่อหรือวัยวะบางส่วนของพืช เช่น ยอด ใบ ลำต้น ราก ส่วนต่าง ๆ ของดอกหรือผล มาเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ในสถานที่ปลอดเชื้อ ทำให้ขยายพันธุ์พืชได้ปริมาณมากหรือรวดเร็ว ไม่กลายพันธุ์โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาได้เริ่มโครงการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ โดยทำการวิจัยและพัฒนาร่วมกับภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และได้รับทุนอุดหนุนจากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ พืชเป้าหมายในระยะแรกของโครงการคือสมอไทย (Terminalia chebula) ซึ่งปลูกไว้ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ และมีอายุกว่าร้อยปี ในบริเวณพระที่นั่งอัมพรสถาน ขนุนพันธุ์ดี (Artocarpus heterophyllus) ในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งมีอายุกว่า ๒๐๐ ปี

พุดสวน (Ervatamia coronaria) ในพระบรมมหาราชวัง  ยี่หุบ (Magnolia coco) ในพระบรมมหาราชวัง
                     ขอบคุณข้อมูลจาก https://web.ku.ac.th/king72/2541-2/proj4_7.html

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ประโยชน์ของศาสตร์พระราชาเรื่อง โครงการสวนจิตรลดา

กลุ่มของข้าพเจ้าได้ศึกษาในศาสตร์พระราชาในเรื่อง โครงการสวนจิตรลดา ได้รับประโยชน์ดังนี้ 1.เราสามารถนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได...